Home สื่อและสิ่งพิมพ์ออนไลน์ Events ภาพบรรยากาศงานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันครั้งที่ 5

ภาพบรรยากาศงานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันครั้งที่ 5

ภาพบรรยากาศงานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันครั้งที่ 5

เก็บตก ภาพบรรยากาศงานประชุมส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันครั้งที่ 5  ใครที่ไม่ได้มาเสียดายแย่เลย เริ่มตั้งแต่เปิดงานเลย

08:00 – 09:00 น. ลงทะเบียน /รับเอกสารประกอบการประชุม /อาหารว่าง
09:00 – 09:30 น. พิธีเปิดการประชุม (ห้องออดิทอเรียม ชั้น 8)

กล่าวรายงาน โดย ดร.สุขแสง คูกนก ประธานจัดการประชุม สถาบันการเดินและการจักรยานไทย  

กล่าวต้อนรับ โดย นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักสร้างเสริมวิถีสุขภาวะ (สสส.)

กล่าวเปิดงาน โดย นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

09:30-09:45 น. องค์กรร่วมจัดถ่ายภาพร่วมกัน “แสดงความร่วมมือขับเคลื่อนชุมชน-เมือง ให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน”
09:45 – 10:45 น. การนำเสนอประสบการณ์และบทเรียนรู้ : การเดิน-การใช้จักรยานในประเทศญี่ปุ่น

โดย Prof. Atsushi  FUKUDA, Ph.D.

10:45 – 11:00 น. พัก/รับประทานอาหารว่าง
11:00 – 12:00 น. การส่งเสริมการใช้จักรยานในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา   คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12:00 – 13:00 น. ** พัก/รับประทานอาหารกลางวัน /เข้าห้องย่อยตามประเด็นความสนใจในช่วงบ่าย **
13:00 – 14:20 น. ห้องย่อย 1 (ห้อง 802):

นโยบายและกฎหมาย

(1)     สิทธิของคนเดินเท้าบนทางสัญจรในเขตเมือง (ฟ้าประทาน เติมขุนทด)

(2)     การศึกษาความเป็นไปได้ในการบังคับใช้กฎหมาย: ใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานในประเทศไทย (ชาคริต ขันนาโพธิ์ และดวงเด่น นาคสีหราช)

(3)     มาตรการบังคับใช้กฎหมายและนโยบายการใช้ทางเท้าและเส้นทางจักรยานอย่างปลอดภัยและยั่งยืนสำหรับประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศออสเตรเลีย และประเทศที่พัฒนาแล้ว (พงศ์กานต์ คงศรี)

(4)     การพัฒนาแอพลิเคชันกฎหมายจราจรทางบกด้านความปลอดภัยของจักรยานและการเดินเท้าบนระบบปฏิบัติการไอโอเอส (ภัทรณัชชา อาภากาศ และพิจารณ์ เจริญศรี)

ดำเนินรายการโดย

อ.จิตรลดา  ไชยะ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

ห้องย่อย 2 (ห้อง 803):

โครงสร้างพื้นฐานและการจัดระบบกายภาพ

(1)     โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของผู้ใช้ทางเท้าและผู้ใช้จักรยานในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (ปุณยนุช รุธิรโก)

(2)     ศึกษาเส้นทางจักรยานและจุดเสี่ยงพื้นที่โดยรอบพุทธมณฑล และนโยบายในการจัดการความปลอดภัยในพุทธมณฑล (พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์ และคณะ)

(3)     ความสนใจและปัจจัยส่งเสริมความปลอดภัยในการตัดสินใจเดิน/ขี่จักรยานไปใช้บริการรถไฟฟ้า กรณีศึกษาบางหว้า-ตลิ่งชัน (พรทิพย์ เดชพิชัย และภาณุภาคย์ พงศ์อติชาต)

(4)     การใช้จักรยานในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน (จุฑาลักษณ์ ชายศักดิ์ และปิยนุช วิทย์วิวรณ์)

ดำเนินรายการโดย

อ.ดร.อมร บุญต่อ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 

ห้องย่อย 3 (ห้อง 702):

สังคมและสุขภาพ

(1)     รถถีบสามล้อรับจ้าง : การประกอบอาชีพดั้งเดิมในยุคประชาคมอาเซียน กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ (มธุรส สว่างบำรุง และรุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ)

(2)     การปรับปรุงชุดต้นแบบมอเตอร์ช่วยขับสำหรับผู้สูงอายุ (อนันตชัย อู่แก้ว และคณะ)

(3)     ความชุกของความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูกของผู้ปั่นจักรยานในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (นฤปวรรต์ พรหมมาวัย และคณะ)

(4)     สุขภาพกายและจิตใจต่อการปั่นจักรยานเปรียบเทียบกับการเดินของนิสิตที่มีภาวะน้ำหนักเกิน (แพรวพรรณ  สุวรรณกิจ)

 

 

ดำเนินรายการโดย

อ.ราชันย์ ฉ้วนเจริญ

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

14:20 – 14:30 น. ** พัก/รับประทานอาหารว่าง /เข้าห้องย่อยตามประเด็นความสนใจ (ต่อ)**
14:30 – 16:00 น. ห้องย่อย 4 (ห้อง 802):

ทัศนคติและพฤติกรรม

 

(1)     พฤติกรรมและความพึงพอใจต่อความปลอดภัยในการใช้ทางเดินเท้าของผู้พิการบริเวณชุมชนเมือง (สุวิมล เจียรธราวานิช และธรรมมา เจียรธราวานิช)

(2)     การศึกษาทัศนคติและประเมินความคุ้มค่าในการสร้างเมืองแห่งจักรยาน กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก (ภคพร วัฒนดำรง และคณะ)

(3)     การศึกษาบทบาททางการสื่อสารของกลุ่มคนที่มีความเบี่ยงเบนเชิงบวกในชุมชนจักรยานไทยกับการแพร่กระจายแนวคิดด้านการขี่จักรยาน (คิธธ์  วงศ์อาษา)

ดำเนินรายการโดย

ผศ.ดร.พลเดช  เชาวรัตน์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

ห้องย่อย 5 (ห้อง 803):

เดิน-จักรยานกับท่องเที่ยวชุมชน

 

(1)     ศึกษาสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยด้วยการใช้จักรยานเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย (สุภัทรจิตต์ มะโนสด)

(2)     พฤติกรรมและแรงจูงใจในการท่องเที่ยวด้วยจักรยานในตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี (ผานิตย์ ถิรพลงาม และคณะ)

(3)     องค์ประกอบของการพัฒนาเส้นทางจักรยานเพื่อการท่องเที่ยว (ลิลลาลี  ศิริวิไลเลิศอนันต์)

 

 

ดำเนินรายการโดย

คุณระพีพัฒน์ เกษโกมล

สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร

 

 

 

ห้องย่อย 6 (ห้อง 702):

“ตัวชี้วัด เดิน จักรยาน เพื่อส่งเสริมชุมชน –เมือง ให้เอื้อต่อการเดินและใช้จักรยาน”

ยกตัวอย่าง 3 หัวเมืองทางใต้

 

ร่วมพูดคุยกับคนทำงานชุมชน และภาคส่วนที่ต้องเกี่ยวข้องในชุมชน-เมือง

(1)     นางอรสุรัชย์  ปฐมโรจนฤทธิ์ ทม. ชุมพร

(2)     นางวรรณี  พุ่มสุวรรณ  โรงเรียนอนุบาลระนอง

(3)     นายวีระชัย  เตือนวีระเดช

เทศบาลตำบลมาบอำมฤต

(4)     นายพรเทพ  ดิษยบุตร

สมาพันธ์ผู้ใช้จักรยานและการเดิน (ภาคใต้ตอนบน)

(5)     นายอารดินทร์  รัตนภู  ผู้จัดการโครงการชุมชนจักรยานเพื่อสุขภาวะ

ดำเนินรายการโดย

คุณอัจจิมา  มีพริ้ง

สถาบันการเดินและการจักรยานไทย

Print Friendly, PDF & Email