Power Point นำเสนอในห้องย่อยของงานประชุมการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 6
Bike and Walk Forum ครั้งที่ 6 : Mode Shift: Bike & Walk to Public Transport Connection ซึ่งมีนักวิจัย นักวิชาการ อาจารย์ นักศึกษาและผู้ที่สนใจ ส่งบทความเข้าร่วมงานวิชาการครั้งนี้ เป็นจำนวน 14 บทความ ซึ่งคณะกรรมการได้แบ่งงานวิจัยออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่
1.กลุ่มงานวิจัยโครงสร้างพื้นฐานและไกายภาพของเมือง-ชุมชน (Infrastructure and Physical) ที่เอื้อต่อเดิน จักรยานเชื่อมต่อระบบขนส่ง
สาธารณะ
- นวัตกรรมการจัดทำระบบยับยั้งการจราจรภายในชุมชนโดยชุมชน
ผศ.ดร. พลเดช เชาวรัตน์/ ผศ.เมธี พิริยกานนท์/ อาจารย์ศุภธิดา สว่างแจ้ง/ อาจารย์วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร - ความต้องการโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกสู่เมืองที่เป็นมิตรกับคนใช้จักรยาน
ผศ.ดร.ปุณยนุช รุธิรโก/ ดร.สิริลักษณ์ ทองพูน/ อาจารย์คัมภีร์ ทองพูน32.กลุ่มงานวิจัยการพัฒนา ออกแบบ วางแผนเส้นทางระบบขนส่ง โครงข่าย (Network) เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ - แบบจำลองคะแนนก้าวเพื่อสุขภาพ ด้วยระบบสารสนเทศน์ภูมิศาสตร์
นางสาวฤทธิดา นิ่มอนงค์ - การพัฒนาต่อยอดชุดต้นแบบชุดมอเตอร์ช่วยขับสำหรับผู้สูงอายุรุ่นที่ 3
ผศ.ดร.อนันตชัย อยู่แก้ว/ นายสิทธิเดช ประโยชดี/ นายธนวัฒน์ สุวนานนท์3.กลุ่มงานวิจัยการจัดการการท่องเที่ยววิถีชุมชนด้วยจักรยาน (Tourism) และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคน - ทัศนคติและพฤติกรรมที่มีต่อการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันของคนวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร
ผศ.พิเชษฐ พิมพ์เจริญ/ ผศ.ดร.ต่อตระกูล อุบลวัตร - เหตุผลของการปั่นจักรยานในชีวิตประจำวันของสังคมไทย
ดร.จิรเวทย์ รักชาติ/ ดร.วิโรจน์ สุทธิมา - นักท่องเที่ยวแนวปั่นจักรยานชาวต่างชาติมองไทยในฐานะเมืองท่องเที่ยวด้วยจักรยาน
ดร.พนิดา จงสุขสมสกุล
4.กลุ่มงานวิจัยการศึกษานโยบายและกฎหมาย (Policy and Law) ที่ส่งเสริมให้คนในเมือง-ชุมชนเห็นความสำคัญและหันมาใช้ระบบขนส่ง สาธารณะ
- ผลกระทบต่อสิทธิผู้ใช้จักรยานบนถนนในประเทศไทยกรณีไม่มีใบขับขี่จักรยาน
อาจารย์บุญเลิศ โพธิ์ขำ/ อาจารย์เจษฎา ไชยตา / อาจารย์สุรศักดิ์ แสนพรหม - ความเป็นไปได้ในการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนการใช้จักรยานไปทำงาน กรณีศึกษาอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี
อาจารย์มโนลี ศรีเปารยะ เพ็ญพงษ์
5.กลุ่มงานวิจัยตัวอย่างพื้นที่ศึกษา ส่งเสริม เดิน จักรยาน ในชีวิตประจำวัน
- แนวคิดการออกแบบโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน พื้นที่ศึกษาอำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี
ผศ.ดร.สิทธา เจนศิริศักดิ์/ สถาพร โภคา/ ศิริรัตน์ เจนศิริศักดิ์ - การอธิบายความตั้งใจของผู้เดินทางที่มีต่อการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันด้วยทฤษฎี Model of Goal Directed Behavior กรณีศึกษาเมืองบางคล้า ฉะเชิงเทรา
ผศ.ดร.สุรเมศวร์ พิริยพัฒน์/ จัตุรงค์ อินทะนู - การส่งเสริมการสร้างเมือง ชุมชนที่เป็นมิตรต่อการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน พื้นที่ศึกษาเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
ผศ.ดร.พลเดช เชาวรัตน์/ อาจารย์ศุภธิดา สว่างแจ้ง/ ผศ.เมธี พิริยกานนท์ - การสร้างเมือง ชุมชน ที่เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน พื้นที่ศึกษา ชุมชนวัดหาดใหญ่ใน ชุมชนแสงศรีและชุมชนกลางในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ผศ.ดร.ปุณยนุช รุธิรโก/ ดร.สิริลักษณ์ ทองพูน/ อาจารย์คัมภีย์ ทองพูน - โครงการแนวทางการออกแบบระบบเส้นทางจักรยานที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการใช้งานจักรยาน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
อาจารย์วีรวัฒน์ วรายน/ นายรชา ถาวระ/ นายกิตติ์ บุญเย็น